บทที่
7
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพจะต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
ซึ่งปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางธุรกิจได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย เช่น
ลูกค้าส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีในการดำเนินชีวิตมากขึ้น รัฐบาลแต่ละประเทศมีนโยบายลดข้อจำกัดในด้านการค้า
การขนส่งและการสื่อสารสะดวกรวดเร็ว
วงจรชีวิตสารสนเทศ
1.
การเกิดของระบบสารสนเทศ (Birth)
1.1
การวางแผนระบบสารสนเทศ
1.2
แผนกลยุทธ์ด้านระบบสารสนเทศ
1.3
แผนปฏิบัติและเติบโต
2.
การพัฒนาและเติบโต (Development
and Growth)
3.
การเจริญเติบโตเต็มที่ (Maturity)
4.
การสิ้นสุดการใช้งาน (Decline)
วิธีการพัฒนาระบบ
พัฒนาระบบสารสนเทศ หมายถึง
การสร้างระบบใหม่ หรือปรับเปลี่ยนระบบงานเดิมให้สามารถทำงานได้ตามความต้องการ
องค์การธุรกิจ ได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นเพื่อใช้ในการดำเนินในแต่ละวัน แต่ละองค์การจะมีวิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่แตกต่างกัน
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศมีหลายรูปแบบ ได้แก่
1.
วิธีพื้นฐานในการพัฒนาระบบ
สามารถจำแนกได้เป็น 4 วิธีคือ
1.1
วิธีเฉพาะเจาะจง (Ad
Hoc Approach)
1.2
วิธีสร้างฐานข้อมูล (Database
Approach)
1.3
วิธีพัฒนาจากล่างขึ้นบน (bottom-up
Approach)
1.4
วิธีพัฒนาจากบนลงล่าง (Top-down
Approach)
2.
วงจรการพัฒนาระบบ หรือ เอสดีแอลซี (System
Development Life Cycle : SDLC) แบ่งขั้นตอนการพัฒนาระบบออกเป็นขั้นตอนต่างๆ ประกอบด้วยระยะต่างๆดังนี้
2.1
การวางแผนโครงการ (Project
Planning)
2.2
การวิเคราะห์ (System
Analysis)
2.3
การออกแบบ (System
Design)
2.4
การนำไปใช้ (Implementation)
2.5
การบำรุงรักษา (System
Maintenance)
3.
โมเดลน้ำตก (Waterfall
Model)
การพัฒนาในรูปแบบของโมเดลน้ำตกจะมีลักษณะคล้ายกับวงจรการพัฒนาระบบ
โดยทั่วไปแล้วจะปรกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน
3.1
การกำหนดและเลือกโครงการ (System
Identification and Selection)
3.2
การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (System
Initiation and Planning)
3.3
การวิเคราะห์ระบบ (System
Analysis)
3.4
การออกแบบระบบ (System
Design)
3.5
การนำไปใช้(System
Implementation)
3.6
การบำรุงรักษาระบบ (System
Maintenance)
4.
Incremental Model เป็นโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากโมเดลน้ำตก
โดยแบ่งงานแต่ละส่วนออกเป็นงานย่อยๆ และพัฒนาทีละส่วน ตามขั้นตอนของโมเดลน้ำตก
เพื่อลดความผิดพลาดของการทำงาน
5.
Built and Fix Model เป็นวิธีการพัฒนาระบบที่เก่าแก่ที่สุด
โดยการพัฒนาและปรับปรุงซอฟต์แวร์ไปเรื่อยๆ ทดลองและแก้ไขจนกระทั่งตามความต้องการ
6.
โมเดลขดลวด (Spiral
Model) เป็นการพัฒนาระบบแบบวนรอบ เพื่อให้มีความรวดเร็วโดยเริ่มจากแกนกลางเมื่อพัฒนาสำเร็จ
จะมีการพัฒนารุ่นต่อๆไปเพื่อให้ดีขึ้นเป็นลำดับ
7.
วิธีต้นแบบ (Prototype) ต้นแบบ คือระบบงานที่สร้างขึ้นโดยมีคุณลักษณะตามความต้องการ
สามารถทำงานได้จริง
ผู้พัฒนาจะทำการพัฒนาต้นแบบที่มีขนาดเล็กขึ้นมาเพื่อนำไปทดลองใช้ปฏิบัติงาน
มีการปรับปรุงแก้ไขจนกว่าผู้ใช้จะพึงพอใจ
จึงนำต้นแบบนั้นไปปรับปรุงเพิ่มเติมให้เป็นระบบงานที่สมบูรณ์
8.
วิธีการพัฒนาระบบอย่างรวดเร็ว (Rapid
Application Development : RAD)
คือการพัฒนาระบบโดยใช้เครื่องมือสนับสนุน
8.1
การรวบรวมข้อกำหนดคุณลักษณะความต้องการของระบบสารสนเทศ
8.2
การออกแบบระบบ
8.3
การพัฒนาระบบต้นแบบ
8.4
การปรังปรุงระบบต้นแบบ
9.
Join- Application Design : JAD คือการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ร่วมกัน
ระหว่างบุคคลในองค์การ และผู้เชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี
10.
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยหรือเคส
(Computer-aided software Engineering : CASE)
เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการพัฒนาระบบมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดนมากมักใช้ร่วมกับวีการพัฒนาระบบจากบนลงล่าง
11.
การซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป (Application Packages)
11.1
ต้องการระบบงานในเวลารวดเร็ง
11.2
งานที่ใช้เป็นงานที่ไม่แตกต่างจากระบบเดียวกันขององค์กรอื่น
11.3
ต้องการได้ระบบงานที่มีคุณภาพและต้นทุนต่ำ
12.
Ration Unified Process (RUP)
เป็นกระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ
เพื่อให้ซอฟต์แวร์มีคุณภาพสูง
12.1
Inception กำหนดขอบเขตของงาน
12.2
Elaboration สร้างข้อกำหนดพื้นฐานของงาน
12.3
Construction การพัฒนาระบบ
12.4
Transition นำไปใช้จัดทำคู่มือ
13.
การพัฒนาระบบสารสนเทศโดยผู้ใช้ (End-user
Computing) ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีราคาถูกลง ขนาดเล็กลง
แต่คุณภาพดีขึ้น สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้มากขึ้น
ซึ่งการพัฒนาสารสนเทศโดยผู้ใช้นี้จะช่วยให้ได้ระบบสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น
การวางแผนโครงการ(Project
Planning)
1.
กำหนดปัญหา (Problem
Definition)
1.1
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
(SWOT analysis)
1.2
การศึกษาปัญหาภายในองค์การ
2.
ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility
Study )
2.1
ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical
Feasibility)
2.2
ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational
Feasibility)
2.3
ความเป็นไปได้ด้านระเบียบกฎเกณฑ์ (Rule
Feasibility)
2.4
ความเป็นไปได้ด้านระยะเวลา (Schedule
Feasibility)
2.5
ความเป็นไปได้ด้านการเงิน (Economic
Feasibility)
การวิเคราะห์ระบบ
(System Analysis)
1.
ข้อมูล (Data)
1.1
ข้อมูลที่ต้องการใช้งาน
1.2
แหล่งที่มาของข้อมูล
1.3
วิธีการเก็บข้อมูล
2.
กระแสข้อมูล
2.1
List of Boundaries
2.2
แผนภาพบริบท
2.3
แผนภาพกระแสข้อมูล
2.4
แบบจำลองความสัมพันธ์ของข้อมูล
2.5
พจนานุกรมข้อมูล
2.6
ผังการทำงานของโปรแกรม
3.
เงื่อนไขการประมวลผล
3.1
รูปแบบการรับข้อมูลทางหน้าจอ
3.2
รูปแบบของรายงาน
3.3
เงื่อนไขการประมวล
การออกแบบระบบ (System
Design)
1.
การออกแบบ (System
Design)
1.1
การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical
design)
1.2
การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical
design)
2.
การพัฒนาระบบ(System
development)
3.
การทดสอบระบบ (System testing)
3.1
การทดสอบส่วนย่อย (Unit
testing)
3.2
การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยย่อย
(Module testing)
3.3
การทดสอบระบบย่อย (Sub-system
testing)
3.4
การทดสอบทั้งระบบ (System
testing)
3.5
การทดสอบยอมรับระบบ (Acceptance
testing)
4.
การจัดทำคู่มือระบบ (Documentation)
4.1
คู่มือการใช้งาน(User
manual)
4.2
คู่มือระบบ(System
manual)
การนำไปใช้ (System
Implementation)
1.
การจัดหาฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
และข้อมูลที่ต้องการ
2.
การฝึกอบรมผู้ใช้และผู้ดูแลรักษาระบบ
3.
การติดตั้งระบบ
4.
การดำเนินระบบ
5.
การประเมินผลระบบ
การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance)
1.
การบำรุงรักษาเพื่อให้เกิดความถูกต้อง
2.
การคงความสามารถของระบบให้คงเดิมหรือดีขึ้น
3.
การบำรุงรักษาเพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง
4.
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น